Presentation – การนำเสนอ

This database makes available a collection of hundreds of digitized manuscripts reproduced from forty-one monastic libraries in Northern Thailand and one public library in Bangkok (the Siam Society). The project is led by the EFEO, as part of its cooperation with the Princess Mahachakri Sirindhorn Anthropology Centre in Bangkok, and is aimed at students and researchers interested in philology, literature and history of Thailand, especially texts representative of Northern Thai Buddhism. The origin of this research is explained here in the “PROJECT” section.

manuscripts bundle

This collection of over 18,000 pages of manuscripts focuses on a principal genre, the chronicles and traditional stories called tamnan (ตำนาน) which are Buddhist narratives of foundation composed almost entirely in the Northern Thai language and tham (Dhamma) script. For reasons of regional linguistic and cultural unity that kind of text developed throughout the Tai area of Southeast Asia (among the Thai, Lao, Shan and Tai peoples) but especially in the ancient kingdom of Lanna, which covered at least the nine northern provinces of Thailand. See “THAM CULTURE.

การจัดทำฐานข้อมูลชุดนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการรวบรวมเอกสารใบลานดิจิตอล โดยเอกสารดังกล่าว สำเนาจากเอกสารใบลานที่ถูกเก็บรักษาไว้ในหอธรรมของวัดจำนวน 41 แห่งทางภาคเหนือของประเทศไทย และเอกสารอีกส่วนหนึ่งได้สำเนามาจากห้องสมุดเอกชนในกรุงเทพฯ - โครงการนี้เป็นความร่วมมือระหว่างสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ (EFEO) และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (SAC) ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อต้องการให้นักศึกษาและนักวิจัยที่สนใจทางด้านภาษาศาสตร์ วรรณคดีและประวัติศาสตร์ไทย สามารถค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารเฉพาะด้าน ซึ่งถูกเรียบเรียงขึ้นในบริบททางพุทธศาสนาในภาคเหนือของประเทศไทย  สำหรับจุดเริ่มต้นของงานวิจัยนี้ได้ถูกอธิบายไว้ในส่วนของโครงการ

เอกสารใบลานชุดนี้มีมากกว่า 18,000 หน้า ซึ่งเน้นเนื้อหาไปทางด้านพงศาวดาร ตำนาน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และเรื่องเล่าพื้นบ้านที่เรียกว่า ตำนาน อันเป็นเรื่องเกี่ยวกับพุทธศาสนา ซึ่งถูกแต่งขึ้นด้วยภาษาไทยภาคเหนือและใช้ตัวอักษรธรรม อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุผลหลายประการของภาษาท้องถิ่น และเอกลักษณ์ของวัฒนธรรม ได้ทำให้เกิดการพัฒนาของรูปแบบการเขียนในกลุ่มชาวไตในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (ไทย/ ลาว/ ฉาน/ และชาวไต)แต่เฉพาะอาณาจักรล้านนาโบราณ ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุมอย่างน้อย 9 จังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ปรากฏวัฒนธรรมตัวอักษรธรรม